คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น

คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น

Currency :
เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TURNAID

มุมมองเพิ่มเติม

เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TURNAID

รหัสสินค้า: TURNAID

อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TURNAID

   เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยลดแผลกดทับ ยี่ห้อ TurnAid อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยติดเตียงที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับการดูแลผู้ป่วยติดเตียง เคลื่อนย้ายและแก้ปัญหาสำหรับผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ที่มีความพิการทางร่างกายที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือภายในบ้าน ช่วยทำให้การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องง่ายและสะดวกขึ้น พร้อมทั้งช่วยลดจำนวนผู้ดูแลลงในการพลิกตัวผู้ป่วย หลักการทำงานของอุปกรณ์ใช้หลักการดึงผ้าไปมาจากราวหมุนทั้งสองด้านในการพลิกตัวผู้ป่วย ทำให้สามารถผ่อนแรงของผู้ดูแลลงได้ นอกจากนี้ยังช่วยลดอาการบาดเจ็บของผู้ป่วยติดเตียงจากท่าพลิกตัวที่ผิด พร้อมทั้งช่วยลดแผลกดทับจากการนอนติดเตียงได้อีกด้วย

   อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง ยี่ห้อ TurnAid สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม (Maximum user weight)

 แผลกดทับ,อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

*ออกแบบและผลิตในประเทศเดนมาร์ก ได้มาตรฐานยุโรป

*มีหนังสือรับรองประกอบการนำเข้าเครื่องมือแพทย์ จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

by TURNAID

In Stock !!

สถานะของสินค้า : สินค้าพร้อมส่ง

VDO

Application

เตียงป้องกันแผลกดทับ

(1) Bed rail-position เป็นโหมดเตรียมพร้อมสำหรับการใช้งาน โดยมอเตอร์หมุนของราวเตียงข้างหนึ่งจะยกสูงขึ้น ส่วนมอเตอร์ของราวเตียงอีกด้านหนึ่งจะอยู่ด้านล่างเสมือนเป็นราวเตียงปกติ

 แผลกดทับ,ผู้ป่วยติดเตียง

(2) Working-position เป็นการยกมอเตอร์ขึ้นด้านบนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการใช้งาน โดยการกดที่ตัวล็อคสีน้ำเงินเพื่อปลดล็อคการเปลี่ยนการวางตัวของราวเตียง

แผลกดทับ

(3) Folded position เป็นโหมดที่ลดราวเตียงและมอเตอร์ลงมาในระดับต่ำที่สุด อาจใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ กับผู้ป่วย อาทิ เปลี่ยนเสื้อผ้า ทำความสะอาดร่างกาย เป็นต้น

อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ ยี่ห้อ TURNAID


"The Innovative Turning and Moving System"

แผลกดทับ

"เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงหรือเตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid ที่ประกอบเข้ากับเตียงเรียบร้อย"

   TurnAid หรือ เตียงป้องกันแผลกดทับ อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง อุปกรณ์เสริมช่วยพลิกตัวผู้ป่วยติด เป็นอุปกรณ์สำหรับเพิ่มความสะดวกสบายและความปลอดภัยในการพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ป่วยอัมพาต เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ อุปกรณ์ดังกล่าวจะเข้ามาช่วยผู้ดูแลให้สามารถพลิกตัวผู้ป่วยได้ง่ายยิ่งขึ้นเพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วย ทำงานโดยมีราวหมุนทั้งสองด้านของอุปกรณ์จะเป็นตัวหมุนผ้าเพื่อช่วยพลิกตัวผู้ป่วยได้ มีรีโมทคอนโทรลทั้งมือและเท้าจึงง่ายต่อการควบคุมอุปกรณ์ การใช้อุปกรณ์พลิกตัวนี้จะทำให้ช่วยลดจำนวนผู้ดูแลลง ช่วยผ่อนแรงและลดต้นทุนในการจ้างคนดูแลลงได้ 

อุปกรณ์ดููแลผู้ป่วยติดเตียงอุปกรณ์ดููแลผู้ป่วยติดเตียง

"รีโมทคอนโทรลมือและเท้าของอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง TurnAid (Hand and foot controller)"

TurnAid อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ ยี่ห้อ TurnAid เหมาะสมกับผู้ใช้กลุ่มใด?
   • ผู้ป่วยอัมพาต
   • ผู้ป่วยติดเตียง
   • ผู้ป่วยอ่อนแรงทั้งตัว
   • ผู้ป่วยพักฟื้นหลังผ่าตัด

TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid ทำงานอย่างไร?
   อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงมีลักษณะเป็นราวเตียงหมุนได้ ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ดังนั้นในการใช้งานอุปกรณ์พลิกตัวจึงจำเป็นต้องถอดราวเตียงของเตียงผู้ป่วยออกเพื่อใส่ตัวอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยเข้าไปแทนที่ โดยตัวอุปกรณ์พลิกตัวใช้หลักการของการม้วนแผ่นผ้าไปมา ระหว่างมอเตอร์สองตัวที่บริเวณราวเตียงทั้ง 2 ด้าน ซึ่งจะทำให้ผู้ดูแลสามารถพลิกตัวผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้ง่าย และมีความปลอดภัยมากขึ้น

TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid จะช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแลอย่างไร?
   • ช่วยลดการออกแรงของผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงในการดันตัวเพื่อพลิกตัวผู้ป่วยในแต่ละครั้ง
   • เพิ่มความปลอดภัยในการพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง
   • เมื่อพลิกตัวได้บ่อยจะช่วยลดโอกาสในการเกิดแผลกดทับลงได้
   • สามารถควบคุมด้วยรีโมทมือและเท้า ทำให้ง่ายต่อการใช้งาน และการดูแลผู้ป่วยติดเตียง
   • สามารถลดจำนวนผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงลงได้ เนื่องจากมีอุปกรณ์ทุ่นแรงเข้ามาช่วย


   
การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงอยู่บ่อยครั้งจะช่วยลดโอกาสการเกิดแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียงลงได้ ดังนั้นอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงนี้จะมาช่วยทำให้การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องที่ง่ายมากยิ่งขึ้น

***สามารถใช้อุปกรณ์พลิกตัวกับเตียงรุ่นอื่น ๆ ที่มีราวเตียงและช่องว่างระหว่างเตียงเพื่อให้ตัวอุปกรณ์ยึดเกาะได้***

  เตียงป้องกันแผลกดทับ  ผู้ป่วยติดเตียง  เตียงป้องกันแผลกดทับ

"อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงป้องกันแผลกดทับ ติดตั้งเข้ากับเตียงเรียบร้อย สามารถปรับราวขึ้น-ลงได้"


   วิธีการเลือกเตียงที่สามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์พลิกตัว TurnAid เพิ่มเติม : CLICK

TurnAid  เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ 1 ชุด ประกอบด้วย
   • ราวเตียง TurnAid 2 ชิ้น (ซ้าย-ขวา)
   • รีโมทมือ (Hand Controller)
   • ผ้าสไลด์ (Slide Sheet)
   • ผ้าพลิกตัว (Pull Sheet)

การรับประกันของ TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง ยี่ห้อ TurnAid
   • สินค้ารับประกัน 1 ปี

*อ่านคำเตือนในฉลากและเอกสารกำกับเครื่องมือแพทย์ก่อนใช้

**สามารถเข้ามาเยี่ยมชม และทดลองสินค้าได้ที่โชว์รูมของบริษัท**

Keyword : อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อัมพฤกษ์/อัมพาต/อุปกรณ์เสริมเตียงผู้ป่วย/อัมพาตครึ่งซีก/Patient turning equipment/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/ผู้ป่วยสโตรก/อุปกรณ์ดูแลผู้สูงอายุ/เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวนำเข้า/ป้องกันแผลกดทับ/Turning bed/Stroke/เตียงไฟฟ้า/เตียงนอน/แผลกดทับ/ผู้ป่วยติดเตียง/พลิกตัวผู้ป่วย/ผู้ป่วยติดเตียง/เตียงทางการแพทย์/ลดภาระผู้ดูแล/แผลกดทับ/เตียงพลิกตัว

ข้อมูลทางเทคนิค

น้ำหนักของเครื่องมือสุทธิ (Total weight of aid)

   46 กิโลกรัม

มาตรฐานเตียงผู้ป่วยที่ต้องการ

   EN-60601-2-52

ความยาว (Length)

   190 เซนติเมตร

ความสูง (Height)

   57 เซนติเมตร

ความกว้าง (Width)

   10 เซนติเมตร

รับน้ำหนักได้สูงสุด (Maximum load)

   200 กิโลกรัม

ระดับเสียงรบกวน

   >70 dB (A)

ระบบมอเตอร์

Duty cycle ของระบบมอเตอร์

Protection level
Electric connection

 

   100%
   IPXO

   Input: UK:240V 50Hz

   A :0,5

   Input power (VA) 24 V

Control box, with integrated adapter:

Brand

Type

Item

U in

I in

Int.

Protection Level

 

   Linak

   CB6S634+X2009

   CB6722-00

   230V-,50/60 Hz

   Max 2 A

   10%, max 2 min./18. Min

   IPX6

Download Manual : CLICK

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) (1)
   โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือโรคที่ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกน้อยลงจากการสะสมกระดูกน้อยเกินไปในขณะที่กำลังเจริญเติบโต หรือมีการสูญเสียมวลกระดูกอย่างมากหลังจากเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ทำให้กระดูกเปราะบางไม่สามารถรับน้ำหนักและแตกหักตามมา

อ่านต่อ

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) (1)
   โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือโรคที่ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกน้อยลงจากการสะสมกระดูกน้อยเกินไปในขณะที่กำลังเจริญเติบโต หรือมีการสูญเสียมวลกระดูกอย่างมากหลังจากเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ทำให้กระดูกเปราะบางไม่สามารถรับน้ำหนักและแตกหักตามมา

อ่านต่อ
อ่านต่อ

อาหารและโภชนาการกับผู้สูงอายุ (2)
   เพราะผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน เนื่องจากส่งผลต่อสุขภาพโดยตรง รวมถึงการป้องกันโรคและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

อ่านต่อ

อาหารและโภชนาการกับผู้สูงอายุ (2)
   เพราะผู้สูงอายุจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน เนื่องจากส่งผลต่อสุขภาพโดยตรง รวมถึงการป้องกันโรคและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ

อ่านต่อ
อ่านต่อ

อาหารและโภชนาการกับผู้สูงอายุ (1)
   สำหรับผู้สูงอายุอาหารที่ควรรับประทานนั้นควรเป็นอาหารที่หลากหลาย แต่ให้สารอาหารครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่เหมาะสม และควรได้รับพลังงานจากอาหารอย่างเพียงพอ

อ่านต่อ

อาหารและโภชนาการกับผู้สูงอายุ (1)
   สำหรับผู้สูงอายุอาหารที่ควรรับประทานนั้นควรเป็นอาหารที่หลากหลาย แต่ให้สารอาหารครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่เหมาะสม และควรได้รับพลังงานจากอาหารอย่างเพียงพอ

อ่านต่อ
อ่านต่อ

โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (2)
   “โรครองช้ำ” ในทางการแพทย์จะเรียกกันอีกชื่อว่า “โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ” หรือ “พังผืดฝ่าเท้าอักเสบ” เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บส้นเท้าบริเวณฝั่งที่เหยียบลงไปบนพื้น ซึ่งหากปล่อยให้เรื้อรังจะรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน

อ่านต่อ

โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (2)
   “โรครองช้ำ” ในทางการแพทย์จะเรียกกันอีกชื่อว่า “โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ” หรือ “พังผืดฝ่าเท้าอักเสบ” เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บส้นเท้าบริเวณฝั่งที่เหยียบลงไปบนพื้น ซึ่งหากปล่อยให้เรื้อรังจะรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน

อ่านต่อ
อ่านต่อ

โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (1)
   โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือ ภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ Plantar Fascia โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า

อ่านต่อ

โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (1)
   โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือ ภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ Plantar Fascia โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า

อ่านต่อ
อ่านต่อ

ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (2)
   แพทย์จะเน้นรักษาที่ต้นเหตุของโรค พร้อมกับรักษาอาการที่เกิดจากความผิดปกติของไต

อ่านต่อ

ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (2)
   แพทย์จะเน้นรักษาที่ต้นเหตุของโรค พร้อมกับรักษาอาการที่เกิดจากความผิดปกติของไต

อ่านต่อ
อ่านต่อ

ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (1)
   "ไตวายเฉียบพลัน" เกิดจากไตสูญเสียการทำงานอย่างกะทันหัน ทำให้เสียสมดุลในระบบร่างกาย

อ่านต่อ

ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (1)
   "ไตวายเฉียบพลัน" เกิดจากไตสูญเสียการทำงานอย่างกะทันหัน ทำให้เสียสมดุลในระบบร่างกาย

อ่านต่อ
อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (3)

การป้องกันเอ็นร้อยหวายอักเสบ
   แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีวิธีที่สามารถป้องกันอาการเอ็นร้อยหวายอักเสบได้ 100% แต่ยังมีวิธีที่สามารถลดความเสี่ยงที่ก่อให้เอ็นร้อยหวายอักเสบ

อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (3)

การป้องกันเอ็นร้อยหวายอักเสบ
   แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีวิธีที่สามารถป้องกันอาการเอ็นร้อยหวายอักเสบได้ 100% แต่ยังมีวิธีที่สามารถลดความเสี่ยงที่ก่อให้เอ็นร้อยหวายอักเสบ

อ่านต่อ
อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (2)

แนวทางการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบ
   แนวทางในการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบมีหลายแบบ ทั้งนี้การรักษาจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรคและดุลยพินิจของแพทย์

อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (2)

แนวทางการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบ
   แนวทางในการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบมีหลายแบบ ทั้งนี้การรักษาจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรคและดุลยพินิจของแพทย์

อ่านต่อ
อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
   เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า

อ่านต่อ

เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
   เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า

อ่านต่อ
อ่านต่อ
expand_less