คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น
รถจักรยาน 3 ล้อ สำหรับเด็กพิเศษหรือผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านร่างกาย
คุณสมบัติ
• รถจักรยาน 3 ล้อ ถูกออกแบบมาสำหรับเด็กพิเศษ หรือผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านกล้ามเนื้อบริเวณขา ข้อเท้า การเดิน หรือการทรงตัวผิดปกติ เป็นต้น
• เพิ่มความปลอดภัยในการใช้งาน เนื่องจากรถจักรยานถูกออกแบบสำหรับผู้ที่มีความผิดปกติโดยเฉพาะ
• มีอุปกรณ์เสริมเพื่อรองรับร่างกายส่วนต่าง ๆ เช่น ส่วนรองรับสะโพก ลำตัว เท้า น่อง และแฮนด์ด้านหลังสำหรับบังคับแฮนด์บาร์ด้านหน้า เป็นต้น เพื่อให้ใช้งานได้สะดวกสบาย และเพิ่มความปลอดภัยสำหรับผู้ใช้งาน
**นำเข้าจากประเทศอิตาลี
สถานะของสินค้า : สินค้าหมด
VDO
Application
คุณสมบัติ
• รถจักรยาน 3 ล้อ ถูกออกแบบมาสำหรับเด็กพิเศษ หรือผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านกล้ามเนื้อบริเวณขา ข้อเท้า การเดิน หรือการทรงตัวผิดปกติ เป็นต้น
• สามารถให้ผู้ใช้งาน (เด็กพิเศษ หรือผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านกล้ามเนื้อบริเวณขา ข้อเท้า การเดิน หรือการทรงตัวผิดปกติ เป็นต้น) ใช้งานขี่จักรยาน 3 ล้อ ด้วยความมั่นใจและปลอดภัย
• เพิ่มความปลอดภัยในการใช้งาน เนื่องจากรถจักรยานถูกออกแบบสำหรับผู้ที่มีความผิดปกติโดยเฉพาะ
• มีอุปกรณ์เสริมเพื่อรองรับร่างกายส่วนต่าง ๆ เช่น ส่วนรองรับสะโพก ลำตัว เท้า น่อง และแฮนด์ด้านหลังสำหรับบังคับแฮนด์บาร์ด้านหน้า เป็นต้น เพื่อให้ใช้งานได้สะดวกสบาย และเพิ่มความปลอดภัยสำหรับผู้ใช้งาน
• สามารถปรับตั้งเกียร์ความเร็วได้ 3 ระดับ พร้อมกับระบบเบรค
• จักรยาน 3 ล้อ ถูกออกแบบมาให้ผู้ใช้งานขึ้นและลงจักรยานได้ง่าย
• จักรยาน 3 ล้อ สามารถพับเก็บได้ ขนย้ายสะดวก
ข้อมูลทางเทคนิค |
|
Download Spec : CLICK
โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (2)
“โรครองช้ำ” ในทางการแพทย์จะเรียกกันอีกชื่อว่า “โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ” หรือ “พังผืดฝ่าเท้าอักเสบ” เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บส้นเท้าบริเวณฝั่งที่เหยียบลงไปบนพื้น ซึ่งหากปล่อยให้เรื้อรังจะรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (2)
“โรครองช้ำ” ในทางการแพทย์จะเรียกกันอีกชื่อว่า “โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ” หรือ “พังผืดฝ่าเท้าอักเสบ” เป็นโรคที่ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บส้นเท้าบริเวณฝั่งที่เหยียบลงไปบนพื้น ซึ่งหากปล่อยให้เรื้อรังจะรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (1)
โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือ ภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ Plantar Fascia โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า
โรครองช้ำ (Plantar Fasciitis) (1)
โรคพังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบหรือรองช้ำ คือ ภาวะที่มีการอักเสบของพังผืดใต้ฝ่าเท้าหรือ Plantar Fascia โดยมากมักเกิดการอักเสบบริเวณที่พังผืดยึดเกาะกับกระดูกส้นเท้า ลักษณะสำคัญของภาวะนี้คือมีอาการปวดที่ส้นเท้าหรือฝ่าเท้า
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (2)
แพทย์จะเน้นรักษาที่ต้นเหตุของโรค พร้อมกับรักษาอาการที่เกิดจากความผิดปกติของไต
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (2)
แพทย์จะเน้นรักษาที่ต้นเหตุของโรค พร้อมกับรักษาอาการที่เกิดจากความผิดปกติของไต
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (1)
"ไตวายเฉียบพลัน" เกิดจากไตสูญเสียการทำงานอย่างกะทันหัน ทำให้เสียสมดุลในระบบร่างกาย
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury) (1)
"ไตวายเฉียบพลัน" เกิดจากไตสูญเสียการทำงานอย่างกะทันหัน ทำให้เสียสมดุลในระบบร่างกาย
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (3)
การป้องกันเอ็นร้อยหวายอักเสบ
แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีวิธีที่สามารถป้องกันอาการเอ็นร้อยหวายอักเสบได้ 100% แต่ยังมีวิธีที่สามารถลดความเสี่ยงที่ก่อให้เอ็นร้อยหวายอักเสบ
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (3)
การป้องกันเอ็นร้อยหวายอักเสบ
แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีวิธีที่สามารถป้องกันอาการเอ็นร้อยหวายอักเสบได้ 100% แต่ยังมีวิธีที่สามารถลดความเสี่ยงที่ก่อให้เอ็นร้อยหวายอักเสบ
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (2)
แนวทางการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบ
แนวทางในการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบมีหลายแบบ ทั้งนี้การรักษาจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรคและดุลยพินิจของแพทย์
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (2)
แนวทางการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบ
แนวทางในการรักษาเอ็นร้อยหวายอักเสบมีหลายแบบ ทั้งนี้การรักษาจะขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของโรคและดุลยพินิจของแพทย์
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า
หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเกิดจากอะไร
หมอนรองกระดูกจะมีเยื้อหุ้มหุ้มอยู่ เมื่อเยื้อหุ้มหมอนรองกระดูกเกิดการฉีกขาดจะทำให้ของเหลวลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ภายในปลิ้นออกมา จนทำให้ไปกดทับเส้นประสาทบริเวณรอบแนวกระดูกสันหลังนั่นเอง
หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเกิดจากอะไร
หมอนรองกระดูกจะมีเยื้อหุ้มหุ้มอยู่ เมื่อเยื้อหุ้มหมอนรองกระดูกเกิดการฉีกขาดจะทำให้ของเหลวลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ภายในปลิ้นออกมา จนทำให้ไปกดทับเส้นประสาทบริเวณรอบแนวกระดูกสันหลังนั่นเอง
ผู้ป่วยติดเตียง ควรนอนอย่างไรให้มีความสุข?
การนอนหลับเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และเป็นกิจกรรมประจำวันที่สำคัญสำหรับชีวิต
ผู้ป่วยติดเตียง ควรนอนอย่างไรให้มีความสุข?
การนอนหลับเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และเป็นกิจกรรมประจำวันที่สำคัญสำหรับชีวิต
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (2)
โดยปกติแล้วถุงน้ำในรังไข่จะหายไปได้เองโดยไม่ต้องรับการรักษา ซึ่งแพทย์อาจตรวจร่างกายซ้ำภายใน 1-3 เดือน เพื่อดูว่าถุงน้ำมีขนาดเล็กลงหรือหายไปหรือไม่ หากถุงน้ำในรังไข่ไม่หายไปเองแพทย์อาจพิจารณาวิธีรักษาอย่างเหมาะสม
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (2)
โดยปกติแล้วถุงน้ำในรังไข่จะหายไปได้เองโดยไม่ต้องรับการรักษา ซึ่งแพทย์อาจตรวจร่างกายซ้ำภายใน 1-3 เดือน เพื่อดูว่าถุงน้ำมีขนาดเล็กลงหรือหายไปหรือไม่ หากถุงน้ำในรังไข่ไม่หายไปเองแพทย์อาจพิจารณาวิธีรักษาอย่างเหมาะสม