คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น
อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียงเตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เตียงป้องกันแผลกดทับ ยี่ห้อ TURNAID
อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง / เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง / เตียงป้องกันแผลกดทับ / อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง / เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TURNAID
เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยลดแผลกดทับ ยี่ห้อ TurnAid อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยติดเตียงที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับการดูแลผู้ป่วยติดเตียง เคลื่อนย้ายและแก้ปัญหาสำหรับผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ที่มีความพิการทางร่างกายที่อยู่ในโรงพยาบาลหรือภายในบ้าน ช่วยทำให้การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องง่ายและสะดวกขึ้น พร้อมทั้งช่วยลดจำนวนผู้ดูแลลงในการพลิกตัวผู้ป่วย หลักการทำงานของอุปกรณ์ใช้หลักการดึงผ้าไปมาจากราวหมุนทั้งสองด้านในการพลิกตัวผู้ป่วย ทำให้สามารถผ่อนแรงของผู้ดูแลลงได้ นอกจากนี้ยังช่วยลดอาการบาดเจ็บของผู้ป่วยติดเตียงจากท่าพลิกตัวที่ผิด พร้อมทั้งช่วยลดแผลกดทับจากการนอนติดเตียงได้อีกด้วย
อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง ยี่ห้อ TurnAid สามารถรับน้ำหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม (Maximum user weight)
*ออกแบบและผลิตในประเทศเดนมาร์ก ได้มาตรฐานยุโรป
*มีหนังสือรับรองประกอบการนำเข้าเครื่องมือแพทย์ จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
by TURNAID
In Stock !!
สถานะของสินค้า : สินค้าพร้อมส่ง
VDO
Application
(1) Bed rail-position เป็นโหมดเตรียมพร้อมสำหรับการใช้งาน โดยมอเตอร์หมุนของราวเตียงข้างหนึ่งจะยกสูงขึ้น ส่วนมอเตอร์ของราวเตียงอีกด้านหนึ่งจะอยู่ด้านล่างเสมือนเป็นราวเตียงปกติ
(2) Working-position เป็นการยกมอเตอร์ขึ้นด้านบนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการใช้งาน โดยการกดที่ตัวล็อคสีน้ำเงินเพื่อปลดล็อคการเปลี่ยนการวางตัวของราวเตียง
(3) Folded position เป็นโหมดที่ลดราวเตียงและมอเตอร์ลงมาในระดับต่ำที่สุด อาจใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ กับผู้ป่วย อาทิ เปลี่ยนเสื้อผ้า ทำความสะอาดร่างกาย เป็นต้น
เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง / อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง / เตียงป้องกันแผลกดทับ / อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง / เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TURNAID
"The Innovative Turning and Moving System"
"เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงหรือเตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid ที่ประกอบเข้ากับเตียงเรียบร้อย"
TurnAid หรือ เตียงป้องกันแผลกดทับ อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง อุปกรณ์เสริมช่วยพลิกตัวผู้ป่วยติด เป็นอุปกรณ์สำหรับเพิ่มความสะดวกสบายและความปลอดภัยในการพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ป่วยอัมพาต เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ อุปกรณ์ดังกล่าวจะเข้ามาช่วยผู้ดูแลให้สามารถพลิกตัวผู้ป่วยได้ง่ายยิ่งขึ้นเพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วย ทำงานโดยมีราวหมุนทั้งสองด้านของอุปกรณ์จะเป็นตัวหมุนผ้าเพื่อช่วยพลิกตัวผู้ป่วยได้ มีรีโมทคอนโทรลทั้งมือและเท้าจึงง่ายต่อการควบคุมอุปกรณ์ การใช้อุปกรณ์พลิกตัวนี้จะทำให้ช่วยลดจำนวนผู้ดูแลลง ช่วยผ่อนแรงและลดต้นทุนในการจ้างคนดูแลลงได้
"รีโมทคอนโทรลมือและเท้าของอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง TurnAid (Hand and foot controller)"
TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง ยี่ห้อ TurnAid เหมาะสมกับผู้ใช้กลุ่มใด?
• ผู้ป่วยอัมพาต
• ผู้ป่วยติดเตียง
• ผู้ป่วยอ่อนแรงทั้งตัว
• ผู้ป่วยพักฟื้นหลังผ่าตัด
TurnAid อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid ทำงานอย่างไร?
อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงมีลักษณะเป็นราวเตียงหมุนได้ ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา ดังนั้นในการใช้งานอุปกรณ์พลิกตัวจึงจำเป็นต้องถอดราวเตียงของเตียงผู้ป่วยออกเพื่อใส่ตัวอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยเข้าไปแทนที่ โดยตัวอุปกรณ์พลิกตัวใช้หลักการของการม้วนแผ่นผ้าไปมา ระหว่างมอเตอร์สองตัวที่บริเวณราวเตียงทั้ง 2 ด้าน ซึ่งจะทำให้ผู้ดูแลสามารถพลิกตัวผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้ง่าย และมีความปลอดภัยมากขึ้น
TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย ยี่ห้อ TurnAid จะช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแลอย่างไร?
• ช่วยลดการออกแรงของผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงในการดันตัวเพื่อพลิกตัวผู้ป่วยในแต่ละครั้ง
• เพิ่มความปลอดภัยในการพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง
• เมื่อพลิกตัวได้บ่อยจะช่วยลดโอกาสในการเกิดแผลกดทับลงได้
• สามารถควบคุมด้วยรีโมทมือและเท้า ทำให้ง่ายต่อการใช้งาน และการดูแลผู้ป่วยติดเตียง
• สามารถลดจำนวนผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงลงได้ เนื่องจากมีอุปกรณ์ทุ่นแรงเข้ามาช่วย
การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องที่ไม่ควรมองข้าม การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงอยู่บ่อยครั้งจะช่วยลดโอกาสการเกิดแผลกดทับในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียงลงได้ ดังนั้นอุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงนี้จะมาช่วยทำให้การพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงเป็นเรื่องที่ง่ายมากยิ่งขึ้น
***สามารถใช้อุปกรณ์พลิกตัวกับเตียงรุ่นอื่น ๆ ที่มีราวเตียงและช่องว่างระหว่างเตียงเพื่อให้ตัวอุปกรณ์ยึดเกาะได้***
"อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียงป้องกันแผลกดทับ ติดตั้งเข้ากับเตียงเรียบร้อย สามารถปรับราวขึ้น-ลงได้"
วิธีการเลือกเตียงที่สามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์พลิกตัว TurnAid เพิ่มเติม : CLICK
TurnAid เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงป้องกันแผลกดทับ 1 ชุด ประกอบด้วย
• ราวเตียง TurnAid 2 ชิ้น (ซ้าย-ขวา)
• รีโมทมือ (Hand Controller)
• ผ้าสไลด์ (Slide Sheet)
• ผ้าพลิกตัว (Pull Sheet)
การรับประกันของ TurnAid อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เตียงพลิกตัวผู้ป่วย/อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง ยี่ห้อ TurnAid
• สินค้ารับประกัน 1 ปี
*อ่านคำเตือนในฉลากและเอกสารกำกับเครื่องมือแพทย์ก่อนใช้
**สามารถเข้ามาเยี่ยมชม และทดลองสินค้าได้ที่โชว์รูมของบริษัท**
Keyword : อุปกรณ์พลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/อัมพฤกษ์/อัมพาต/อุปกรณ์เสริมเตียงผู้ป่วย/อัมพาตครึ่งซีก/Patient turning equipment/เครื่องพลิกตัวผู้ป่วยติดเตียง/ผู้ป่วยสโตรก/อุปกรณ์ดูแลผู้สูงอายุ/เตียงป้องกันแผลกดทับ/อุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยติดเตียง/อุปกรณ์พลิกตัวนำเข้า/ป้องกันแผลกดทับ/Turning bed/Stroke/เตียงไฟฟ้า/เตียงนอน/แผลกดทับ/ผู้ป่วยติดเตียง/พลิกตัวผู้ป่วย/ผู้ป่วยติดเตียง/เตียงทางการแพทย์/ลดภาระผู้ดูแล/แผลกดทับ/เตียงพลิกตัว
ข้อมูลทางเทคนิค |
|
Download Manual : CLICK
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า
เอ็นร้อยหวายอักเสบ (Achilles Tendinitis) (1)
เอ็นร้อยหวาย (Achilles Tendinitis) คือ เส้นเอ็นที่ใหญ่ที่สุดและแข็งแรงที่สุดในร่างกายที่อยู่บริเวณด้านหลังน่อง โดยที่เอ็นร้อยหวายจะเชื่อมต่อกล้ามเนื้อน่องและส้นเท้า
หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเกิดจากอะไร
หมอนรองกระดูกจะมีเยื้อหุ้มหุ้มอยู่ เมื่อเยื้อหุ้มหมอนรองกระดูกเกิดการฉีกขาดจะทำให้ของเหลวลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ภายในปลิ้นออกมา จนทำให้ไปกดทับเส้นประสาทบริเวณรอบแนวกระดูกสันหลังนั่นเอง
หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท
โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทเกิดจากอะไร
หมอนรองกระดูกจะมีเยื้อหุ้มหุ้มอยู่ เมื่อเยื้อหุ้มหมอนรองกระดูกเกิดการฉีกขาดจะทำให้ของเหลวลักษณะคล้ายเจลที่อยู่ภายในปลิ้นออกมา จนทำให้ไปกดทับเส้นประสาทบริเวณรอบแนวกระดูกสันหลังนั่นเอง
ผู้ป่วยติดเตียง ควรนอนอย่างไรให้มีความสุข?
การนอนหลับเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และเป็นกิจกรรมประจำวันที่สำคัญสำหรับชีวิต
ผู้ป่วยติดเตียง ควรนอนอย่างไรให้มีความสุข?
การนอนหลับเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกาย จิตใจ และเป็นกิจกรรมประจำวันที่สำคัญสำหรับชีวิต
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (2)
โดยปกติแล้วถุงน้ำในรังไข่จะหายไปได้เองโดยไม่ต้องรับการรักษา ซึ่งแพทย์อาจตรวจร่างกายซ้ำภายใน 1-3 เดือน เพื่อดูว่าถุงน้ำมีขนาดเล็กลงหรือหายไปหรือไม่ หากถุงน้ำในรังไข่ไม่หายไปเองแพทย์อาจพิจารณาวิธีรักษาอย่างเหมาะสม
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (2)
โดยปกติแล้วถุงน้ำในรังไข่จะหายไปได้เองโดยไม่ต้องรับการรักษา ซึ่งแพทย์อาจตรวจร่างกายซ้ำภายใน 1-3 เดือน เพื่อดูว่าถุงน้ำมีขนาดเล็กลงหรือหายไปหรือไม่ หากถุงน้ำในรังไข่ไม่หายไปเองแพทย์อาจพิจารณาวิธีรักษาอย่างเหมาะสม
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (1)
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) เป็นโรคของระบบสืบพันธุ์สตรีที่พบบ่อยเป็นลำดับต้น ๆ ดังนั้นผู้หญิงทุกท่านควรให้ความสำคัญ ควรได้รับการตรวจวินิจฉัยเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้องและทันเวลา
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) (1)
ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian Cyst) เป็นโรคของระบบสืบพันธุ์สตรีที่พบบ่อยเป็นลำดับต้น ๆ ดังนั้นผู้หญิงทุกท่านควรให้ความสำคัญ ควรได้รับการตรวจวินิจฉัยเพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้องและทันเวลา
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Obstructive Sleep Apnea)
เป็นภาวะผิดปกติของการหายใจ คือมีอาการหยุดหายใจเป็นช่วงๆ ขณะนอนหลับ การนอนกรนจึงทำให้คุณภาพการนอนไม่ดี การนอนหลับไม่ต่อเนื่อง และกลายเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ และอารมณ์
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (Obstructive Sleep Apnea)
เป็นภาวะผิดปกติของการหายใจ คือมีอาการหยุดหายใจเป็นช่วงๆ ขณะนอนหลับ การนอนกรนจึงทำให้คุณภาพการนอนไม่ดี การนอนหลับไม่ต่อเนื่อง และกลายเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ และอารมณ์
นอนกรน (Snoring) (2)
อาการนอนกรนนั้น ทางการแพทย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ นอนกรนแบบธรรมดา และ การนอนกรนแบบอันตราย
นอนกรน (Snoring) (2)
อาการนอนกรนนั้น ทางการแพทย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ นอนกรนแบบธรรมดา และ การนอนกรนแบบอันตราย
นอนกรน (Snoring) (1)
อาการนอนกรนเกิดในขณะนอนหลับ กล้ามเนื้อคอจะผ่อนคลายและหย่อนตัว ทำให้ทางเดินหายใจแคบลง อากาศที่เคลื่อนผ่านทางเดินหายใจที่แคบลง จะทำให้เกิดการสั่นของเนื้อเยื่อคอ
นอนกรน (Snoring) (1)
อาการนอนกรนเกิดในขณะนอนหลับ กล้ามเนื้อคอจะผ่อนคลายและหย่อนตัว ทำให้ทางเดินหายใจแคบลง อากาศที่เคลื่อนผ่านทางเดินหายใจที่แคบลง จะทำให้เกิดการสั่นของเนื้อเยื่อคอ
ไอเรื้อรัง (Chronic Cough) (2)
"การไอ" นานติดต่อกันหลายสัปดาห์ เมื่อรับประทานยาแล้วก็ยังไม่มีอาการที่ดีขึ้น อาจเป็นสัญญาณเตือนของการเกิดโรคอย่างมากมาย
ไอเรื้อรัง (Chronic Cough) (2)
"การไอ" นานติดต่อกันหลายสัปดาห์ เมื่อรับประทานยาแล้วก็ยังไม่มีอาการที่ดีขึ้น อาจเป็นสัญญาณเตือนของการเกิดโรคอย่างมากมาย
ไอเรื้อรัง (Chronic Cough) (1)
"การไอ" ย่อมสร้างความรำคาญให้ใครหลาย ๆ คน แต่บางคนก็คิดว่าแค่ไอ ปล่อยไว้เดี๋ยวก็หายเอง ซึ่งหากทิ้งไว้นานวันแล้วยังมีอาการไออยู่อย่างต่อเนื่องเรื้อรังย่อมไม่ดีแน่
ไอเรื้อรัง (Chronic Cough) (1)
"การไอ" ย่อมสร้างความรำคาญให้ใครหลาย ๆ คน แต่บางคนก็คิดว่าแค่ไอ ปล่อยไว้เดี๋ยวก็หายเอง ซึ่งหากทิ้งไว้นานวันแล้วยังมีอาการไออยู่อย่างต่อเนื่องเรื้อรังย่อมไม่ดีแน่